Skip to content

ความเปลี่ยนแปลง

View changes from to


On 10 ตุลาคม ค.ศ. 2022 14 นาฬิกา 41 นาที 56 วินาที +0700, Gravatar พอพันธ์ สร้อยน้อย:
  • Updated description of โครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืน from

    การพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเพื่อรองรับการเติบโตของจานวนประชากรโลก ทาให้ความต้องการใช้พลังงานอยู่ในระดับสูง ในขณะที่แหล่งพลังงานหลักของโลกมีปริมาณจากัดและมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ ประกอบกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาภาวะโลกร้อน เนื่องจากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นปัญหาที่ทั่วโลกกาลังให้ความสนใจและเร่งหามาตรการเพื่อควบคุม ในส่วนของประเทศไทย ถึงแม้จะมีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ภายในประเทศของตนเอง แต่ยังคงไม่เพียงพอกับความต้องการ ทาให้ต้องพึ่งพาพลังงานนาเข้าจากต่างประเทศมาโดยตลอด อีกทั้งต้องเผชิญและปรับตัวอย่างต่อเนื่องกับภาวะผันผวนของราคาน้ามันซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจและการลงทุนโดยรวม ทาให้ต้องหันมาหาแหล่งพลังงานทางเลือกและพลังงานทดแทนอื่นๆ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการในอนาคต โดยมุ่งเน้นการสร้างความมั่นคงทางพลังงานควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือก ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศ โดยเฉพาะสหภาพยุโรปให้ความสนใจและหันมาพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อลดการพึ่งพาน้ามันดิบ และบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อนจากการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยในปี ค.ศ. 2009 สหภาพยุโรปมีมติให้มีการกาหนดปริมาณการปลดปล่อยมลพิษจากอุตสาหกรรมการบินของสายการบินพาณิชย์ตาม EU Emission Trading System ทั้งนี้ ตามข้อตกลงของธุรกิจการบินทั้งหมด ตั้งเป้าที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ ร้อยละ 50 ภายในปี ค.ศ. 2050 โดยสายการบินพาณิชย์ที่บินผ่านน่านฟ้าของประเทศในกลุ่ม EU ที่ใช้น้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานในปริมาณร้อยละ 10 ขึ้นไป จะได้รับการยกเว้นภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) แต่ปัจจุบันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานยังมีปริมาณการผลิตน้อย และราคาแพง การผลักดันให้เกิดการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน ต้องมียุทธศาสตร์ และการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน โดยใช้กิจกรรมต่างๆสนับสนุนเพื่อสร้างความตื่นตัวในสังคม ตลอดจน ส่งเสริมการวิจัยและเทคโนโลยีการผลิต เนื่องจากการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน มีความเกี่ยวพันกับหลายภาคส่วน อันได้แก่ ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการผลิตน้ามัน อุตสาหกรรมการบิน รวมถึงผู้บริโภค ดังนั้นการกาหนดนโยบายและมาตรการสนับสนุนต่างๆ จาเป็นที่จะต้องคานึงถึงผลกระทบและข้อจากัดของทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึงเพื่อให้ได้นโยบาย มาตรการ รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการของภาคส่วนต่างๆ อย่างเหมาะสม อันจะทาให้การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ การจัดทาโครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืน จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันแผนการผลิตและแผนปฏิบัติการการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งในระดับธุรกิจการบิน เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมถึงการสนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกต่อไป วัตถุประสงค์ -ศึกษาแนวทางและแผนปฏิบัติการ การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืนของประเทศ -ศึกษาแผนการลงทุนเพื่อการผลิตในเชิงพาณิชย์ และการนาไปใช้งานจริงเพื่อนาเสนอต่อภาครัฐในการกาหนดนโยบายของประเทศต่อไป
    to
    (ดำเนินโครงการในปี พ.ศ. 2562) การพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเพื่อรองรับการเติบโตของจานวนประชากรโลก ทาให้ความต้องการใช้พลังงานอยู่ในระดับสูง ในขณะที่แหล่งพลังงานหลักของโลกมีปริมาณจากัดและมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ ประกอบกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาภาวะโลกร้อน เนื่องจากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นปัญหาที่ทั่วโลกกาลังให้ความสนใจและเร่งหามาตรการเพื่อควบคุม ในส่วนของประเทศไทย ถึงแม้จะมีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ภายในประเทศของตนเอง แต่ยังคงไม่เพียงพอกับความต้องการ ทาให้ต้องพึ่งพาพลังงานนาเข้าจากต่างประเทศมาโดยตลอด อีกทั้งต้องเผชิญและปรับตัวอย่างต่อเนื่องกับภาวะผันผวนของราคาน้ามันซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจและการลงทุนโดยรวม ทาให้ต้องหันมาหาแหล่งพลังงานทางเลือกและพลังงานทดแทนอื่นๆ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการในอนาคต โดยมุ่งเน้นการสร้างความมั่นคงทางพลังงานควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือก ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศ โดยเฉพาะสหภาพยุโรปให้ความสนใจและหันมาพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อลดการพึ่งพาน้ามันดิบ และบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อนจากการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยในปี ค.ศ. 2009 สหภาพยุโรปมีมติให้มีการกาหนดปริมาณการปลดปล่อยมลพิษจากอุตสาหกรรมการบินของสายการบินพาณิชย์ตาม EU Emission Trading System ทั้งนี้ ตามข้อตกลงของธุรกิจการบินทั้งหมด ตั้งเป้าที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ ร้อยละ 50 ภายในปี ค.ศ. 2050 โดยสายการบินพาณิชย์ที่บินผ่านน่านฟ้าของประเทศในกลุ่ม EU ที่ใช้น้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานในปริมาณร้อยละ 10 ขึ้นไป จะได้รับการยกเว้นภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) แต่ปัจจุบันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานยังมีปริมาณการผลิตน้อย และราคาแพง การผลักดันให้เกิดการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน ต้องมียุทธศาสตร์ และการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน โดยใช้กิจกรรมต่างๆสนับสนุนเพื่อสร้างความตื่นตัวในสังคม ตลอดจน ส่งเสริมการวิจัยและเทคโนโลยีการผลิต เนื่องจากการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน มีความเกี่ยวพันกับหลายภาคส่วน อันได้แก่ ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการผลิตน้ามัน อุตสาหกรรมการบิน รวมถึงผู้บริโภค ดังนั้นการกาหนดนโยบายและมาตรการสนับสนุนต่างๆ จาเป็นที่จะต้องคานึงถึงผลกระทบและข้อจากัดของทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึงเพื่อให้ได้นโยบาย มาตรการ รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการของภาคส่วนต่างๆ อย่างเหมาะสม อันจะทาให้การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ การจัดทาโครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืน จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันแผนการผลิตและแผนปฏิบัติการการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งในระดับธุรกิจการบิน เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมถึงการสนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกต่อไป วัตถุประสงค์ -ศึกษาแนวทางและแผนปฏิบัติการ การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืนของประเทศ -ศึกษาแผนการลงทุนเพื่อการผลิตในเชิงพาณิชย์ และการนาไปใช้งานจริงเพื่อนาเสนอต่อภาครัฐในการกาหนดนโยบายของประเทศต่อไป