Skip to content

ความเปลี่ยนแปลง

View changes from to


On 10 ตุลาคม ค.ศ. 2022 14 นาฬิกา 39 นาที 00 วินาที +0700, Gravatar พอพันธ์ สร้อยน้อย:
  • Updated description of โครงการวิจัยและทดลองใช้แก๊สโซฮอล์ที่ผสมเอทานอลตั้งแต่ ร้อยละ 20 ขึ้นไปในรถยนต์และรถจักรยานยนต์ from

    เนื่องจากราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ กระทรวงพลังงานโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จึงได้มีนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อชดเชยการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศพลังงานทดแทนที่สามารถผลิตได้เองในประเทศ จึงมีความจำเป็นและสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ปัจจุบันนี้ประเทศไทยมีการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ผสมเอทานอล ร้อยละ10 ที่เรียกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E10 กันอย่างแพร่หลายและมีความต้องการใช้ในปริมาณเพิ่มขึ้นตลอดเวลา รถยนต์ที่มีระบบจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงแบบหัวฉีดสามารถใช้กับน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E10 ได้ทันทีโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงชิ้นส่วนยานยนต์แต่อย่างใด แต่สำหรับเครื่องยนต์ที่มีระบบจ่ายน้ำมันแบบคาร์บิวเรเตอร์ ทางบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ยังไม่แนะนำให้ใช้ [1] และจากการศึกษาพบว่าปัจจุบันมีการใช้น้ำมันเบนซินผสมเอทานอลเป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์กันอย่างกว้างขวางในหลายประเทศ เช่น ประเทศบราซิล, สวีเดน, สหรัฐอเมริกา และแคนาดา เป็นต้น โดยสัดส่วนการผสมเอทานอลในน้ำมันเบนซินมีปริมาณตั้งแต่ 3% จนถึง 85% โดยปริมาณและในบางประเทศได้มีการใช้เอทานอล 100% เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์อีกด้วย สำหรับประเทศไทยได้มีการส่งเสริมการใช้น้ำมันเบนซินผสมเอทานอลร้อยละ10 โดยปริมาณมาตั้งแต่ปี 2544 โดยมี บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ผลิตและให้บริการ [2] แต่เนื่องจากมีการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ รัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะเพิ่มสัดส่วนเอทานอลในน้ำมันเบนซินให้มากกว่าร้อยละ 20 เพื่อลดการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศลง ทั้งนี้เพราะประเทศไทยมีความพร้อมในเรื่องวัตถุดิบจำพวกอ้อย, กากน้ำตาล และ มันสำปะหลัง ที่ใช้ในการผลิตเอทานอล และการเพิ่มสัดส่วนเอทานอลในน้ำมันเบนซินยังเป็นการช่วยให้ราคาสินค้าทางการเกษตรมีราคาเพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย รัฐบาลจึงมีนโยบายส่งเสริมให้ผู้ใช้รถยนต์หันมาใช้น้ำมันที่มีส่วนผสมเอทานอลมากขึ้น จึงได้มอบหมายให้กระทรวงพลังงานโดยกรมธุรกิจพลังงาน กำหนดคุณลักษณะของน้ำมันเบนซินที่มีส่วนผสมของเอทานอลร้อยละ 20 หรือที่เรียกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 เพื่อให้บริษัทผู้ผลิตน้ำมันได้มีมาตรฐานในการผลิตน้ำมันออกจำหน่าย และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป โดยบริษัท ปตท.จำกัด(มหาชน) ได้เปิดจำหน่ายพีทีที E20 พลัส ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 12 สถานี บริษัท บางจาก จำกัด(มหาชน) ได้เปิดจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 จำนวน 5 สถานี นอกจากนี้กระทรวงการคลังยังได้ลดภาษีสรรพสามิตลงร้อยละ 5 สำหรับรถยนต์ใหม่ที่ได้ออกแบบมาให้ใช้ได้กับน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 ได้ โดยมีผลตั้งแต่วันที่1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป มีบริษัทผู้ผลิตรถยนต์จำนวนหลายรายได้ตอบสนองต่อนโยบายนี้เป็นอย่างดี จึงได้ผลิตรถยนต์รุ่นใหม่ที่ผลิตตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นไปให้สามารถใช้กับน้ำมันแก๊สโซฮฮล์ E20 ได้ แต่เนื่องจากรถยนต์รุ่นใหม่มีการเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างช้า ๆ ทำให้ปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 ก็ค่อย ๆ เพิ่มอย่างช้า ๆ เช่นกัน ส่งผลให้ผู้ประกอบการปั๊มน้ำมันไม่อยากเปิดหัวจ่ายเพื่อจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 เนื่องจากปริมาณการจำหน่ายน้ำมันมีน้อยไม่คุ้มกับการลงทุนในการล้างและเคลือบถังเก็บใหม่ ดังนั้นเพื่อให้มีการเพิ่ม
    to
    (ดำเนินโครงการในปี พ.ศ. 2551) เนื่องจากราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ กระทรวงพลังงานโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จึงได้มีนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อชดเชยการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศพลังงานทดแทนที่สามารถผลิตได้เองในประเทศ จึงมีความจำเป็นและสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ปัจจุบันนี้ประเทศไทยมีการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ผสมเอทานอล ร้อยละ10 ที่เรียกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E10 กันอย่างแพร่หลายและมีความต้องการใช้ในปริมาณเพิ่มขึ้นตลอดเวลา รถยนต์ที่มีระบบจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงแบบหัวฉีดสามารถใช้กับน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E10 ได้ทันทีโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงชิ้นส่วนยานยนต์แต่อย่างใด แต่สำหรับเครื่องยนต์ที่มีระบบจ่ายน้ำมันแบบคาร์บิวเรเตอร์ ทางบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ยังไม่แนะนำให้ใช้ [1] และจากการศึกษาพบว่าปัจจุบันมีการใช้น้ำมันเบนซินผสมเอทานอลเป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์กันอย่างกว้างขวางในหลายประเทศ เช่น ประเทศบราซิล, สวีเดน, สหรัฐอเมริกา และแคนาดา เป็นต้น โดยสัดส่วนการผสมเอทานอลในน้ำมันเบนซินมีปริมาณตั้งแต่ 3% จนถึง 85% โดยปริมาณและในบางประเทศได้มีการใช้เอทานอล 100% เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์อีกด้วย สำหรับประเทศไทยได้มีการส่งเสริมการใช้น้ำมันเบนซินผสมเอทานอลร้อยละ10 โดยปริมาณมาตั้งแต่ปี 2544 โดยมี บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ผลิตและให้บริการ [2] แต่เนื่องจากมีการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ รัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะเพิ่มสัดส่วนเอทานอลในน้ำมันเบนซินให้มากกว่าร้อยละ 20 เพื่อลดการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศลง ทั้งนี้เพราะประเทศไทยมีความพร้อมในเรื่องวัตถุดิบจำพวกอ้อย, กากน้ำตาล และ มันสำปะหลัง ที่ใช้ในการผลิตเอทานอล และการเพิ่มสัดส่วนเอทานอลในน้ำมันเบนซินยังเป็นการช่วยให้ราคาสินค้าทางการเกษตรมีราคาเพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย รัฐบาลจึงมีนโยบายส่งเสริมให้ผู้ใช้รถยนต์หันมาใช้น้ำมันที่มีส่วนผสมเอทานอลมากขึ้น จึงได้มอบหมายให้กระทรวงพลังงานโดยกรมธุรกิจพลังงาน กำหนดคุณลักษณะของน้ำมันเบนซินที่มีส่วนผสมของเอทานอลร้อยละ 20 หรือที่เรียกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 เพื่อให้บริษัทผู้ผลิตน้ำมันได้มีมาตรฐานในการผลิตน้ำมันออกจำหน่าย และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป โดยบริษัท ปตท.จำกัด(มหาชน) ได้เปิดจำหน่ายพีทีที E20 พลัส ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 12 สถานี บริษัท บางจาก จำกัด(มหาชน) ได้เปิดจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 จำนวน 5 สถานี นอกจากนี้กระทรวงการคลังยังได้ลดภาษีสรรพสามิตลงร้อยละ 5 สำหรับรถยนต์ใหม่ที่ได้ออกแบบมาให้ใช้ได้กับน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 ได้ โดยมีผลตั้งแต่วันที่1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป มีบริษัทผู้ผลิตรถยนต์จำนวนหลายรายได้ตอบสนองต่อนโยบายนี้เป็นอย่างดี จึงได้ผลิตรถยนต์รุ่นใหม่ที่ผลิตตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นไปให้สามารถใช้กับน้ำมันแก๊สโซฮฮล์ E20 ได้ แต่เนื่องจากรถยนต์รุ่นใหม่มีการเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างช้า ๆ ทำให้ปริมาณการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 ก็ค่อย ๆ เพิ่มอย่างช้า ๆ เช่นกัน ส่งผลให้ผู้ประกอบการปั๊มน้ำมันไม่อยากเปิดหัวจ่ายเพื่อจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E20 เนื่องจากปริมาณการจำหน่ายน้ำมันมีน้อยไม่คุ้มกับการลงทุนในการล้างและเคลือบถังเก็บใหม่ ดังนั้นเพื่อให้มีการเพิ่ม