Skip to content

ความเปลี่ยนแปลง

View changes from to


On 10 ตุลาคม ค.ศ. 2022 15 นาฬิกา 08 นาที 24 วินาที +0700, Gravatar พอพันธ์ สร้อยน้อย:
  • Changed title to โครงการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล(Biomass to Liquid; BTL)ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis (previously โครงการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล(Biomass to Liquid; BTL)ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis (ปี 56))


  • Updated description of โครงการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล(Biomass to Liquid; BTL)ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis from

    ปัจจุบันประเทศไทยมีการนำเข้าน้ำมันดิบเฉลี่ย 900,000 บาร์เรล คิดเป็นเงินประมาณ 900,000 ล้านบาทต่อปีและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี การจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิงที่สามารถผลิตได้เองในประเทศ จึงเป็นหนทางหนึ่งในการที่จะพึ่งพาตนเองด้านพลังงาน ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเพาะปลูกพืช ดังนั้นจึงมีชีวมวลที่เหลือใช้เป็นจำนวนมาก ชีวมวลหรือวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรถือเป็นเชื้อเพลิงทางเลือกที่มีความสำคัญมากในประเทศเกษตรกรรมอย่างไทย เพราะไม่เพียงถูกนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรงหรือแปรรูปเป็นพลังงานทดแทนรูปแบบต่าง ๆ เท่านั้น หากแต่ในอนาคตประเทศเกษตรกรรมที่มีชีวมวลมากอาจมีความสามารถผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงได้เองจากชีวมวลเหล่านี้ เนื่องจากขณะนี้มีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงสังเคราะห์ชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติเหมือนน้ำมันหรือน้ำมันสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid : BTL) แล้วในหลายประเทศ จึงสมควรที่จะต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล ซึ่งกระบวนการหลักสำหรับเปลี่ยนชีวมวลให้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิง คือ กระบวนการ Pyrolysis และ Fischer-Tropsch โดยที่ผ่านมาได้มีการศึกษาความเป็นไปได้ของกระบวนการ Fischer-Tropsch มาบ้างแล้ว ซึ่งพบว่าปัจจุบันยังไม่มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนในเชิงธุรกิจ ดังนั้น กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน จึงเห็นสมควรที่จะต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid : BTL) ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid: BTL) ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis
    to
    (ดำเนินโครงการในปี พ.ศ. 2556)ปัจจุบันประเทศไทยมีการนำเข้าน้ำมันดิบเฉลี่ย 900,000 บาร์เรล คิดเป็นเงินประมาณ 900,000 ล้านบาทต่อปีและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี การจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิงที่สามารถผลิตได้เองในประเทศ จึงเป็นหนทางหนึ่งในการที่จะพึ่งพาตนเองด้านพลังงาน ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเพาะปลูกพืช ดังนั้นจึงมีชีวมวลที่เหลือใช้เป็นจำนวนมาก ชีวมวลหรือวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรถือเป็นเชื้อเพลิงทางเลือกที่มีความสำคัญมากในประเทศเกษตรกรรมอย่างไทย เพราะไม่เพียงถูกนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรงหรือแปรรูปเป็นพลังงานทดแทนรูปแบบต่าง ๆ เท่านั้น หากแต่ในอนาคตประเทศเกษตรกรรมที่มีชีวมวลมากอาจมีความสามารถผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงได้เองจากชีวมวลเหล่านี้ เนื่องจากขณะนี้มีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงสังเคราะห์ชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติเหมือนน้ำมันหรือน้ำมันสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid : BTL) แล้วในหลายประเทศ จึงสมควรที่จะต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล ซึ่งกระบวนการหลักสำหรับเปลี่ยนชีวมวลให้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิง คือ กระบวนการ Pyrolysis และ Fischer-Tropsch โดยที่ผ่านมาได้มีการศึกษาความเป็นไปได้ของกระบวนการ Fischer-Tropsch มาบ้างแล้ว ซึ่งพบว่าปัจจุบันยังไม่มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนในเชิงธุรกิจ ดังนั้น กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน จึงเห็นสมควรที่จะต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid : BTL) ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล (Biomass to Liquid: BTL) ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis


  • Changed value of field objective to [u'\u0e22\u0e38\u0e17\u0e18\u0e28\u0e32\u0e2a\u0e15\u0e23\u0e4c\u0e0a\u0e32\u0e15\u0e34', u'\u0e1e\u0e31\u0e19\u0e18\u0e01\u0e34\u0e08\u0e2b\u0e19\u0e48\u0e27\u0e22\u0e07\u0e32\u0e19'] in โครงการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากชีวมวล(Biomass to Liquid; BTL)ด้วยกระบวนการ Fast Pyrolysis